สวัสดีค่ะ หากคุณต้องการติดต่อเรา สามารถเลือกช่องทางการติดต่อด้านล่างได้เลยค่ะ
logoบทความ/ข่าวสาร

หากต้องการ จดทะเบียนบริษัท มี ค่าธรรมเนียม เท่าไหร่?



หน้าแรก

>

บทความ

>

หากต้องการ จดทะเบียนบริษัท มี ค่าธรรมเนียม เท่าไหร่?

449 views

หากต้องการ จดทะเบียนบริษัท มี ค่าธรรมเนียม เท่าไหร่?

     การ จดทะเบียนบริษัท ค่าธรรมเนียม นั้นจะคิดค่าธรรมเนียมเมื่อผู้ทำการจดทะเบียน ต้องการขอใบสำคัญ หรือสำเนาใบแทนใบสำคัญ รวมถึง การขอเอกสารพร้อมคำรับรอง การขอหนังสือรับรอง ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล บริษัทจำกัด และบริษัทมหาชนจำกัด ซึ่งสามารถแจกแจง การ จดทะเบียนบริษัท ค่าธรรมเนียม ได้ตามประเภทบริษัทดังต่อไปนี้

จดทะเบียนบริษัท ค่าธรรมเนียม มีรายละเอียดอะไรบ้าง

     อย่างที่ทราบกันว่า การ จดทะเบียนบริษัท ค่าธรรมเนียม จะมีสองประเภท คือ จดทะเบียนบริษัท แบบธรรมดาหรือแบบกระดาษ และจดทะเบียนบริษัท แบบออนไลน์ แต่ การคิด การ จดทะเบียนบริษัท ค่าธรรมเนียม การจดทะเบียนจะแตกต่างกันตามประเภทบริษัท คือ การจดทะเบียน ค่าธรรมเนียม ห้างหุ้นส่วน บริษัทจำกัด และ บริษัทมหาชน 

การจดทะเบียนห้างหุ้นส่วน ค่าธรรมเนียม 1,000 บาท (หากห้างหุ้นส่วน มีทุน ของผู้ร่วมหุ้น ไม่เกิน 1 ล้านบาท )

  • ทุนของผู้เป็นหุ้นส่วนรวมกันทุก ๆ 1 แสนบาท ที่กำหนดไว้ คิดเป็น 100 บาท
  • ทุนของผู้เป็นหุ้นส่วนรวมกันตั้งแต่ 5,000,0000 บาท คิดเป็น 5,000 บาท
  • จดทะเบียน ค่าธรรมเนียม ควบห้างหุ้นส่วน  2,000 บาท
  • หุ้นส่วนออกหรือเข้าใหม่ คนละ 300 บาท

จดทะเบียนบริษัท ค่าธรรมเนียม บริษัทจำกัด มีค่าธรรมเนียม 5,000 บาท 

  • ทุนจดทะเบียนไม่เกิน 1 ล้านบาท  500 บาท
  • ทุนจดทะเบียน ทุก 1 แสนบาท 50 บาท
  • ทุนจดทะเบียนตั้งแต่ 50,000,0000 บาท คิดเป็น 25,000 บาท
  • การแก้ไขเพิ่มเติมหนังสือก่อนจัดตั้งบริษัท 400 บาท

จดทะเบียนบริษัท ค่าธรรมเนียม มหาชน  1,000 บาท (ในการจดทะเบียนเพิ่มทุนก็อ้างตามจำนวนทุนจดทะเบียนด้านล่าง)

  • ทุนจดทะเบียนไม่เกิน 1,000,000 บาท 1,000 บาท
  • ทุนจดทะเบียนตั้งแต่ 250,000,000 บาทขึ้นไป  250,000 บาท

นอกจากค่าธรรมเนียม ในการจดทะเบียนบริษัทแล้ว มีค่าใช้จ่ายส่วนอื่นอีกไหม

     ในการ จดทะเบียนบริษัท ค่าธรรมเนียม แบบออนไลน์ มีค่าใช้จ่ายส่วนอื่น คือ ค่าหนังสือรับรองนิติบุคคล รูปแบบไฟล์อิเล็กทรอนิกส์ เพิ่มขึ้นประมาณ 200 บาท และค่าจัดส่งเอกสารสำคัญ ไปรษณีย์ด่วนพิเศษ 50 บาท ในการ จดทะเบียนบริษัท ค่าธรรมเนียม ในรูปแบบกระดาษ จะมีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมคือ

  • การยกเลิกการจดทะเบียนจะเสียค่าธรรมเนียม 500 บาท
  • ใบสำคัญ แสดงการจดทะเบียน ฉบับละ 100 บาท 
  • การตรวจเอกสารบัญชีผู้ถือหุ้น รายละ 50 บาท 
  • การตรวจสอบคำขอรายละ 50 บาท การขอสำเนา พร้อมคำรับรอง หน้าละ 50บาท
  • การขอหนังสือรับรองความ รวมถึงหมายเรียกศาล รายการละ 40 บาท 
  • การถ่ายข้อมูลที่ได้จาก คอมพิวเตอร์ 800 บาท
  • ค่าบริการการเชื่อมโยงข้อมูล จากกรมพัฒนาธุรกิจการค้า ไปยังคอมพิวเตอร์ของผู้ขอข้อมูล 
  • ค่าบริการ 30 บาท และค่าเชื่อมโยงข้อมูล ครั้งละ 3000 บาท

     ดังนั้น ก่อนจะทำการ จดทะเบียนบริษัท ค่าธรรมเนียม ที่ท่านควรวางแผน สามารถศึกษาเพิ่มเติมหรือรับคำปรึกษาจากผู้มีประสบการณ์ และสามารถ ศึกษาการ จดทะเบียนบริษัท ค่าธรรมเนียม ได้ที่ ตารางค่าธรรมเนียม ผ่านเมนูวิธีชำระค่าธรรมเนียมของเว็บไซต์กรมพัฒนาธุรกิจการค้าและ กฎกระทรวงกำหนดอัตราค่าธรรมเนียมการจดทะเบียน ค่าธรรมเนียม การขอตรวจเอกสาร ขอสำเนาเอกสารพร้อมคำรับรอง และค่าธรรมเนียมอื่นที่เกี่ยวกับห้างหุ้นส่วนและบริษัทจำกัด พ.ศ. 2563 และ กฎกระทรวงกำหนดอัตราค่าธรรมเนียมการจดทะเบียน การขอตรวจเอกสาร การขอสำเนาเอกสารพร้อมคำรับรอง และค่าธรรมเนียมอื่นที่เกี่ยวกับบริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ. 2549



ข่าวสารล่าสุด

บริษัท Techvision Accounting ปิดงบ 66
บริษัท Techvision Accounting ปิดงบ 66

ปิดงบ 66 จะประกอบด้วยงบแสดงฐานะทางการเงิน งบกำไรขาดทุน งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น หมายเหตุประกอบงบการเงิน และงบกระแสเงินสด ซึ่งเจ้าของกิจการต้องทำการ ปิดงบ 66 และนำส่งอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง หากสนใจบริการดังกล่าวติดต่อทางเราได้เลย

17/04/2024 17:00
ปิดงบ หจก กับ บริษัท Techvision Accounting
ปิดงบ หจก กับ บริษัท Techvision Accounting

ปิดงบ หจก คือการตรวจสอบบัญชีตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไป โดยทีมงานผู้สอบบัญชีรับอนุญาตและผู้สอบบัญชีภาษีอากรเสนอรายงานของผู้สอบบัญชี และการ ปิดงบ หจก ยังมีประโยชน์กับกิจการมาก เพราะเป็นภาพสะท้อนให้เห็นผลกำไร – ขาดทุนของกิจการได้อย่างชัดเจน

15/04/2024 17:00
บริษัท Techvision Accounting ปิดงบ คืออะไร
บริษัท Techvision Accounting ปิดงบ คืออะไร

ปิดงบ คืออะไร มีความสำคัญเป็นอย่างมากต่อธุรกิจที่เป็นนิติบุคคล เพราะต้องมีการปิดงบการเงินเมื่อถึงกำหนดสิ้นรอบระยะเวลาบัญชี หากมีการส่งล่าช้าหรือตั้งใจที่จะหลีกเลี่ยงไม่ ปิดงบ คืออะไร จะมีโทษตามกฎหมาย โดยจะต้องจัดทำและส่งงบการเงินให้แก่ 2 กรม ได้แก่กรมพัฒนาธุรกิจการค้าและกรมสรรพากรอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง

10/04/2024 17:00