ปิดงบการเงิน67 คือการจัดทำงบการเงิน จากข้อมูลการจัดทำบัญชีแสดงรายรับ-รายจ่ายของกิจการตลอดทั้งปี ซึ่งโดยปกติจะบันทึกจากข้อมูลที่เกิดขึ้นในแต่ละวันของการดำเนินธุรกิจ ซึ่ง ปิดงบการเงิน67 จะประกอบไปด้วย ข้อมูลด้านบัญชี-ภาษีต่างๆ และแยกรายละเอียดรายรับ รายจ่ายออกจากกันอย่างชัดเจน ซึ่งในการ ปิดงบการเงิน67 เป็นหน้าที่ของผู้ประกอบการที่ขึ้นทะเบียนเป็นนิติบุคคลไม่ว่าจะเป็นบริษัทจำกัด หรือห้างหุ้นส่วนจำกัด ล้วนมีหน้าที่ต้อง ปิดงบการเงิน67 และจัดทำงบการเงิน เพื่อจัดส่งรายงานทางการเงินให้แก่กรมพัฒนาธุรกิจการค้าและกรมสรรพากร อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
การ ปิดงบการเงิน67 ต้องนำส่งให้ทางสรรพากรและกรมพัฒนาธุรกิจการค้าอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง โดยยื่นให้ทางกรมพัฒน์ภายใน 1 เดือนหลังจากประชุมใหญ่ผู้ถือหุ้น และยื่นภาษีเงินได้นิติบุคคลประจำปีกับกรมสรรพากร ภายใน 150 วันนับแต่วันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี ไม่ว่าในบริษัทจะมีการเคลื่อนไหวหรือไม่ก็ตาม จำเป็นต้องยื่น ปิดงบการเงิน67 แต่หากผู้ประกอบการนำส่งงบการเงินไม่ทันกำหนดจะต้องเสียค่าปรับ ปิดงบการเงิน67 2 ส่วน ซึ่งอัตราค่าปรับจะแตกต่างกันตามระยะเวลาที่ล่าช้า คือ
- นำส่งงบการเงินล่าช้า (กรมพัฒนาธุรกิจการค้า)
- นำส่งภาษีช้า (กรมสรรพากร)
หากมีข้อสงสัยเกี่ยวกับการ ปิดงบการเงิน67 สามารถติดต่อสอบถามรายละเอียดทางบริษัทของเราได้ตลอด
เอกสารที่จะต้องจัดเตรียม และส่งให้กับทางบริษัท เพื่อใช้ในการ ปิดงบการเงิน67
- หนังสือรับรองบริษัทเต็มชุด สำหรับ ปิดงบการเงิน67
- ทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม ภพ.20 (ถ้ามี)
- รหัสชื่อผู้ใช้ และรหัสสรรพากร /ประกันสังคม /กรมพัฒนาธุรกิจการค้า
- เอกสารรายได้ /ค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่เกิดขึ้นภายในบริษัททั้งหมด (ซื้อ-ขาย จ่ายเงิน-รับเงิน)
- รายงานการเดินบัญชี (Bank Statemente) ปีงบปัจจุบันในนามบริษัททุกบัญชี
- แบบยื่นเสียภาษี และใบเสร็จ ภ.ง.ด.51/ภ.พ.30/ภ.ง.ด.1,3,53 ทุกเดือน ( ถ้ามี)
- รายงานภาษีซื้อ-รายงานภาษีขาย
- ใบกำกับภาษีขาย-ซื้อ ทุกเดือน เพื่อใช้ในการ ปิดงบการเงิน67
- แบบยื่นประกันสังคม และใบเสร็จ ทุกเดือน
- ไฟล์สรุปเงินเดือน /ใบสรุปการจ่ายเงินเดือน
- ไฟล์บัญชีแยกประเภททั้งหมด (ปีก่อนหน้า) ( ถ้ามี )
- ไฟล์งบทดลองทั้งหมด (ปีก่อนหน้า) ( ถ้ามี )
- งบการเงินปีก่อน เพื่อประกอบการ ปิดงบการเงิน67
- ทะเบียนทรัพย์สิน ( ถ้ามี )
ปิดงบการเงิน67 ต้องปิดทุก ๆ 12 เดือน (1รอบระยะเวลาบัญชี) โดยยื่นให้ทางกรมพัฒนาธุรกิจการค้าภายใน 1 เดือนหลังจากประชุมใหญ่ผู้ถือหุ้น และยื่นภาษีเงินได้นิติบุคคลประจำปีกับกรมสรรพากรภายใน 150 วันนับแต่วันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี กรณีนำยื่น ปิดงบการเงิน67 ไม่ทันตามกำหนดอาจมีโทษเบี้ยปรับเงินเพิ่มในอัตราที่แตกต่างกันตามระยะเวลาที่ล่าช้า และผู้ประกอบการต้องเสียค่าปรับ ปิดงบการเงิน67 2 ส่วน คือ นำส่งงบการเงินล่าช้า (กรมพัฒนาธุรกิจการค้า) และนำส่งภาษีช้า (กรมสรรพากร) หากสนใจบริการ ปิดงบการเงิน67 ของบริษัท เทควิชั่น แอคเคาน์ติ้ง ติดต่อทางเราได้เลย
การ รับปิดงบการเงิน 67 ถือเป็นภารกิจสำคัญสำหรับทุกธุรกิจในประเทศไทย แม้จะมีความท้าทายในหลายด้าน แต่หากสามารถจัดการกับความท้าทายเหล่านี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ก็จะเป็นโอกาสสำคัญในการพัฒนาธุรกิจให้เติบโตและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน ด้วยข้อมูลจากการ รับปิดงบการเงิน 67 ที่ถูกต้อง น่าเชื่อถือ จะสามารถนำไปใช้ในการวางแผนกลยุทธ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การ ปิดงบการเงินเปล่า 2567 เป็นขั้นตอนสำคัญในการจัดทำงบการเงินที่โปร่งใสและปฏิบัติตามข้อกำหนดทางกฎหมาย บทความนี้นำเสนอขั้นตอน เคล็ดลับ และประโยชน์ของการ ปิดงบการเงินเปล่า 2567 เพื่อให้ธุรกิจของคุณสามารถรักษาความน่าเชื่อถือและเติบโตได้อย่างมั่นคง