สวัสดีค่ะ หากคุณต้องการติดต่อเรา สามารถเลือกช่องทางการติดต่อด้านล่างได้เลยค่ะ
logoบทความ/ข่าวสาร

ปิดงบการเงิน67 คืออะไร?



หน้าแรก

>

บทความ

>

ปิดงบการเงิน67 คืออะไร?

53 views

ปิดงบการเงิน67 คืออะไร?

     ปิดงบการเงิน67 คือการจัดทำงบการเงิน จากข้อมูลการจัดทำบัญชีแสดงรายรับ-รายจ่ายของกิจการตลอดทั้งปี ซึ่งโดยปกติจะบันทึกจากข้อมูลที่เกิดขึ้นในแต่ละวันของการดำเนินธุรกิจ ซึ่ง ปิดงบการเงิน67 จะประกอบไปด้วย ข้อมูลด้านบัญชี-ภาษีต่างๆ และแยกรายละเอียดรายรับ รายจ่ายออกจากกันอย่างชัดเจน ซึ่งในการ ปิดงบการเงิน67 เป็นหน้าที่ของผู้ประกอบการที่ขึ้นทะเบียนเป็นนิติบุคคลไม่ว่าจะเป็นบริษัทจำกัด หรือห้างหุ้นส่วนจำกัด ล้วนมีหน้าที่ต้อง ปิดงบการเงิน67 และจัดทำงบการเงิน เพื่อจัดส่งรายงานทางการเงินให้แก่กรมพัฒนาธุรกิจการค้าและกรมสรรพากร อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง

ปิดงบการเงิน67 ไม่ทันทำอย่างไรได้บ้าง

    การ ปิดงบการเงิน67 ต้องนำส่งให้ทางสรรพากรและกรมพัฒนาธุรกิจการค้าอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง โดยยื่นให้ทางกรมพัฒน์ภายใน 1 เดือนหลังจากประชุมใหญ่ผู้ถือหุ้น และยื่นภาษีเงินได้นิติบุคคลประจำปีกับกรมสรรพากร ภายใน 150 วันนับแต่วันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี ไม่ว่าในบริษัทจะมีการเคลื่อนไหวหรือไม่ก็ตาม จำเป็นต้องยื่น ปิดงบการเงิน67 แต่หากผู้ประกอบการนำส่งงบการเงินไม่ทันกำหนดจะต้องเสียค่าปรับ ปิดงบการเงิน67 2 ส่วน ซึ่งอัตราค่าปรับจะแตกต่างกันตามระยะเวลาที่ล่าช้า คือ

  • นำส่งงบการเงินล่าช้า (กรมพัฒนาธุรกิจการค้า)
  • นำส่งภาษีช้า (กรมสรรพากร)

       หากมีข้อสงสัยเกี่ยวกับการ ปิดงบการเงิน67 สามารถติดต่อสอบถามรายละเอียดทางบริษัทของเราได้ตลอด

 

เอกสารที่ต้องเตรียมสำหรับ ปิดงบการเงิน67 มีอะไรบ้าง

     เอกสารที่จะต้องจัดเตรียม และส่งให้กับทางบริษัท เพื่อใช้ในการ ปิดงบการเงิน67

  1. หนังสือรับรองบริษัทเต็มชุด สำหรับ ปิดงบการเงิน67
  2. ทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม ภพ.20 (ถ้ามี)
  3. รหัสชื่อผู้ใช้ และรหัสสรรพากร /ประกันสังคม /กรมพัฒนาธุรกิจการค้า
  4. เอกสารรายได้ /ค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่เกิดขึ้นภายในบริษัททั้งหมด (ซื้อ-ขาย จ่ายเงิน-รับเงิน)
  5. รายงานการเดินบัญชี (Bank Statemente) ปีงบปัจจุบันในนามบริษัททุกบัญชี
  6. แบบยื่นเสียภาษี และใบเสร็จ  ภ.ง.ด.51/ภ.พ.30/ภ.ง.ด.1,3,53 ทุกเดือน ( ถ้ามี)
  7. รายงานภาษีซื้อ-รายงานภาษีขาย
  8. ใบกำกับภาษีขาย-ซื้อ ทุกเดือน เพื่อใช้ในการ ปิดงบการเงิน67
  9. แบบยื่นประกันสังคม และใบเสร็จ ทุกเดือน
  10. ไฟล์สรุปเงินเดือน /ใบสรุปการจ่ายเงินเดือน
  11. ไฟล์บัญชีแยกประเภททั้งหมด (ปีก่อนหน้า)  ( ถ้ามี )
  12. ไฟล์งบทดลองทั้งหมด (ปีก่อนหน้า)  ( ถ้ามี )
  13. งบการเงินปีก่อน เพื่อประกอบการ ปิดงบการเงิน67
  14. ทะเบียนทรัพย์สิน  ( ถ้ามี )

     ปิดงบการเงิน67 ต้องปิดทุก ๆ 12 เดือน (1รอบระยะเวลาบัญชี) โดยยื่นให้ทางกรมพัฒนาธุรกิจการค้าภายใน 1 เดือนหลังจากประชุมใหญ่ผู้ถือหุ้น และยื่นภาษีเงินได้นิติบุคคลประจำปีกับกรมสรรพากรภายใน 150 วันนับแต่วันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี กรณีนำยื่น ปิดงบการเงิน67 ไม่ทันตามกำหนดอาจมีโทษเบี้ยปรับเงินเพิ่มในอัตราที่แตกต่างกันตามระยะเวลาที่ล่าช้า และผู้ประกอบการต้องเสียค่าปรับ ปิดงบการเงิน67 2 ส่วน คือ นำส่งงบการเงินล่าช้า (กรมพัฒนาธุรกิจการค้า) และนำส่งภาษีช้า (กรมสรรพากร) หากสนใจบริการ ปิดงบการเงิน67 ของบริษัท เทควิชั่น แอคเคาน์ติ้ง ติดต่อทางเราได้เลย



ข่าวสารล่าสุด

รับปิดงบการเงิน 67 กับ บริษัท เทควิชั่น แอคเคาน์ติ้ง จำกัด
รับปิดงบการเงิน 67 กับ บริษัท เทควิชั่น แอคเคาน์ติ้ง จำกัด

การ รับปิดงบการเงิน 67 ถือเป็นภารกิจสำคัญสำหรับทุกธุรกิจในประเทศไทย แม้จะมีความท้าทายในหลายด้าน แต่หากสามารถจัดการกับความท้าทายเหล่านี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ก็จะเป็นโอกาสสำคัญในการพัฒนาธุรกิจให้เติบโตและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน ด้วยข้อมูลจากการ รับปิดงบการเงิน 67 ที่ถูกต้อง น่าเชื่อถือ จะสามารถนำไปใช้ในการวางแผนกลยุทธ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

11/11/2024 17:00
ปิดงบการเงินเปล่า 2567 : ความสำคัญและขั้นตอนที่ผู้ประกอบการควรรู้
ปิดงบการเงินเปล่า 2567 : ความสำคัญและขั้นตอนที่ผู้ประกอบการควรรู้

การ ปิดงบการเงินเปล่า 2567 เป็นขั้นตอนสำคัญในการจัดทำงบการเงินที่โปร่งใสและปฏิบัติตามข้อกำหนดทางกฎหมาย บทความนี้นำเสนอขั้นตอน เคล็ดลับ และประโยชน์ของการ ปิดงบการเงินเปล่า 2567 เพื่อให้ธุรกิจของคุณสามารถรักษาความน่าเชื่อถือและเติบโตได้อย่างมั่นคง

09/11/2024 17:00
จดภาษีมูลค่าเพิ่ม ทำยังไง กับ Techvision Accounting
จดภาษีมูลค่าเพิ่ม ทำยังไง กับ Techvision Accounting

จดภาษีมูลค่าเพิ่ม ทำยังไง มีขั้นตอนหลักๆ ดังนี้ ตรวจสอบคุณสมบัติ,เตรียมเอกสารที่เกี่ยวข้อง,ยื่นเอกสารที่สำนักงานสรรพากรพื้นที่ตั้งกิจการ,รอการอนุมัติจากเจ้าหน้าที่ภายใน 1 วันกรณีเอกสารครบถ้วน สำหรับ จดภาษีมูลค่าเพิ่ม ทำยังไง

01/11/2024 17:00