สวัสดีค่ะ หากคุณต้องการติดต่อเรา สามารถเลือกช่องทางการติดต่อด้านล่างได้เลยค่ะ
logoยื่นภาษี ยื่นภาษีออนไลน์
0622057878 @techvisionacc

ใครบ้างที่ต้อง ยื่นภาษีออนไลน์ และความแตกต่างเรื่องการ ยื่นภาษี

ถ้าจะกล่าวถึงว่าใครบ้างที่มีหน้าที่ ยื่นภาษี ในมุมมองของผู้ที่จะเข้ามาประกอบธุรกิจรายใหม่ เราควรทำความเข้าใจและให้ความสำคัญว่าการประกอบธุรกิจของเรานั้น มีความเหมาะสมกับการประกอบธุรกิจรูปแบบใด ได้แก่ แบบบุคคลธรรมดา หรือแบบนิติบุคคล เพราะทั้งสองรูปแบบนี้มีความแตกต่างกันในเรื่องการ ยื่นภาษีออนไลน์ รวมทั้งเรื่องข้อดี ข้อเสีย ในการจัดทำบัญชี และการ ยื่นภาษี ที่ต้องดำเนินการให้ถูกต้องตามระเบียบและตามที่กฎหมายกำหนดเอาไว้ การเลือกว่าเราจะประกอบธุรกิจในรูปแบบบุคคลธรรมดา หรือนิติบุคคลนั้น ต้องพิจารณาว่าธุรกิจของเรานั้นมีการดำเนินธุรกิจร่วมกันกับบุคคลอื่นหรือไม่ หรือดำเนินธุรกิจเพียงคนเดียว เพราะการ ยื่นภาษี นั้นไม่เท่ากัน Techvision Accounting พร้อมให้บริการ ยื่นภาษีออนไลน์ และพร้อมให้คำปรึกษาครบวงจร

@techvisionacc

ใครบ้างมีหน้าที่ ยื่นภาษี เงินได้บุคคลธรรมดา และ ยื่นภาษีออนไลน์

ผู้มีหน้าที่ ยื่นภาษี เงินได้บุคคลธรรมดา เป็นภาษีที่เก็บจากบุคคลทั่วไป หรือเก็บจาก คณะบุคคลที่ไม่ใช่นิติบุคคล หรือหน่วยภาษีที่มีลักษณะพิเศษ ในการ ยื่นภาษีออนไลน์ ต้องเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนดไว้ ผู้มีหน้าที่ ยื่นภาษี เงินได้บุคคลธรรมดา ได้แก่ ผู้ที่มีเงินได้เกิดขึ้นระหว่างปีที่ผ่านมาโดยมีสถานะ อย่างหนึ่งอย่างใด ดังนี้

  • 1. บุคคลธรรมดา
  • 2. ห้างหุ้นส่วนสามัญหรือคณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล
  • 3. ผู้ถึงแก่ความตายระหว่างปีภาษี
  • 4. กองมรดกที่ยังไม่ได้แบ่ง
  • 5. วิสาหกิจชุมชน ตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน เฉพาะที่เป็นห้างหุ้นส่วนสามัญ หรือคณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล ( ยื่นภาษีออนไลน์ )

@techvisionacc

ขั้นตอนดำเนินการ ยื่นภาษี เงินได้บุคคลธรรมดา และการ ยื่นภาษีออนไลน์

ผู้มีหน้าที่ ยื่นภาษีออนไลน์ ที่กล่าวมาแล้วข้างต้น เมื่อมีเงินหรือรายได้ที่เกิดขึ้นมาแล้ว จะต้องมีดำเนินการขั้นตอนดังต่อไปนี้ ในการจัดเตรียมเอกสารและยื่นแบบในการ ยื่นภาษี ดังนี้

  • 1. ต้องดำเนินการขอมีเลขและบัตรประจำตัวผู้เสียภาษี ภายใน 60 วัน นับแต่วันที่มีเงินเกิดขึ้น ถ้ากรณีเป็นผู้มีเงินได้ที่ไม่มีเลขประจำตัวประชาชน คือ เป็นบุคคลต่าง ด้าว หรือเป็นกองมรดกที่ยังไม่ได้แบ่ง เว้นแต่ผู้มีเงินได้ที่มีเลขประจำตัวประชาชน สามารถใช้ เลขประจำตัวประชาชนแทนเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากรได้ โดยไม่ต้องขอมีเลขประจำตัวผู้เสีย ภาษีอากรอีก ( ยื่นภาษีออนไลน์ )
  • 2. ต้องดำเนินการยื่นแบบแสดงรายการปกติปีละ 1 ครั้ง และเงินได้ของปีใดก็ให้ยื่นแบบ แสดงรายได้ ภายในวันที่ 31 มีนาคม ของปีถัดไป เว้นแต่เงินได้บางลักษณะ เช่น การให้เช่า ทรัพย์สิน เงินได้จากวิชาชีพอิสระ เงินได้จากการรับเหมา เงินได้จากธุรกิจ การพาณิชย์ เป็นต้น จะต้องยื่นแบบแสดงรายได้ตอนกลางปี สำหรับเงินได้ที่เกิดขึ้นใน 6 เดือนแรก ภายในเดือน กันยายน ของทุกปี ( ยื่นภาษี )
  • @techvisionacc

ผู้มีหน้าที่ ยื่นภาษี เงินได้นิติบุคคล และการ ยื่นภาษีออนไลน์

ผู้มีหน้าที่ ยื่นภาษี เงินได้นิติบุคคล มีดังนี้ ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่จดทะเบียนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ หรือบริษัท รวมถึงนิติบุคคลอื่นๆ ที่ไม่ได้จด ทะเบียนตามกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ( ยื่นภาษีออนไลน์ ) ได้แก่

  • 1. ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลหรือบริษัทที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายประเทศไทย ดังนี้ ห้างหุ้นส่วนสามัญจดทะเบียน ห้างหุ้นส่วนจำกัด บริษัทจำกัด และบริษัทจำกัดมหาชน มีหน้าที่ ยื่นภาษี ตามกฎหมายประเทศไทย
  • 2. ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลหรือบริษัทที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศ มีหน้าที่ ( ยื่นภาษีออนไลน์ ) เงินได้นิติบุคคลในประเทศไทย เมื่อเข้าเงื่อนไขข้อใดข้อหนึ่งตามข้อกำหนด
  • 3. กิจการซึ่งดำเนินการเป็นทางค้า หรือหากำไร โดย รัฐบาลต่างประเทศ องค์กรของรัฐบาลต่างประเทศ นิติบุคคลอื่นที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศ
  • 4. กิจกรรมร่วมค้า ( Joint Venture ) ได้แก่ กิจการที่ดำเนินการร่วมกันเป็นทางค้าหรือหากำไร ระหว่างบุคคลดังต่อไปนี้ ( ยื่นภาษี ) บริษัทกับบริษัท บริษัทกับห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลกับห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล บริษัทและห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลกับบุคคลธรรมดา บริษัทและห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลกับคณะบุคคลที่ไม่ใช่นิติบุคคล บริษัทและห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลกับห้างหุ้นส่วนสามัญ บริษัทและห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลกับนิติบุคคลอื่น
  • 5. มูลนิธิหรือสมาคมที่ประกอบกิจการซึ่งมีรายได้แต่ไม่รวมถึงมูลนิธิหรือสมาคมที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดให้เป็นองค์กรหรือสถานสาธารณกุศล
  • 6. นิติบุคคลที่อธิบดีกำหนดโดยอนุมัติรัฐมนตรีและประกาศในราชกิจจานุเบกษาให้เป็นบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลตามประมวลรัษฎากร ( ยื่นภาษีออนไลน์ ) Cr.กรมสรรพากร

@techvisionacc

อัตราการ ยื่นภาษี และการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา และการ ยื่นภาษีออนไลน์

ผู้มีเงินได้บุคคลธรรมดา มีหน้าที่นำเงินได้ทุกประเภทไปคำนวณภาษีบุคคล ณ สิ้นปี และชำระภาษีภายในปีถัดไป มีช่องทางการ ยื่นภาษี แบบปกติ ณ สรรพากรพื้นที่ และ ยื่นภาษีออนไลน์ ผ่านเว็บไซต์ของ กรมสรรพากร โดยการคำนวณภาษีมี 2 วิธี คือ วิธีแรกเป็นแบบขั้นบันได วิธีนี้สามารถเลือกหักค่าใช้จ่ายได้ สองแบบ ทั้งแบบเหมา 60% หรือ หักตามจริงโดยใช้เอกสารยืนยัน หักค่าลดหย่อน และนำเงินได้คงเหลือ สุทธิมาเทียบกับอัตราการ ยื่นภาษี ซึ่งรายได้สุทธิ 150,000 บาทแรกได้รับเว้นภาษี และส่วนที่เกินมาจะเข้า เกณฑ์อัตราการเสียภาษีที่ 5% และสูงสุดอยู่ที่ 35% การคำนวณภาษีวิธีที่สองจะเป็นแบบเหมา โดยจะนำ รายได้ทางอื่นทั้งหมดที่ไม่ใช่เงินเดือนคูณกับ 0.5% จะเป็นค่าภาษีที่ต้องชำระ (การใช้วิธีนี้ต้องรวมรายได้ ทั้งหมดที่ไม่รวมเงินเดือนแล้วเกิน 1,000,000 บาท) การ ยื่นภาษีออนไลน์ เงินได้บุคคลธรรมดาจะมาก หรือน้อยขึ้นอยู่กับเงินได้พึงประเมินทั้งปี ยิ่งมีเงินได้มาก อัตราภาษีจะสูงตามไปด้วย

@techvisionacc

อัตราการ ยื่นภาษี และการคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคล และการ ยื่นภาษีออนไลน์

การ ยื่นภาษี เงินได้นิติบุคคลสำหรับธุรกิจ Startup หรือ SMEs ที่จดทะเบียนตามกฎหมายในประเทศไทยนั้นจะคำนวณจากกำไรสุทธิทางภาษีที่เกิดขึ้นในรอบปีบัญชี และคูณด้วยอัตราฐานภาษีตามที่ได้มีการกำหนดไว้ นิติบุคคลมีหน้าที่ ยื่นภาษีออนไลน์ เพื่อนำส่งข้อมูลนี้กับทางกรมสรรพากร ด้วยแบบแสดงรายการเงินได้นิติบุคคล ภ.ง.ด.50 สำหรับอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลถ้าหากเป็น นิติบุคคลที่มีทุนจดทะเบียนที่ชำระแล้วไม่เกิน 5,000,000 บาท และมีรายได้ไม่เกิน 30 ล้านบาท ในการ ยื่นภาษี จะได้รับสิทธิประโยชน์ได้รับยกเว้นไม่ต้องเสียภาษีเงินได้สำหรับกำไรสุทธิ 300,000 บาทแรก และได้รับสิทธิเสียภาษีในอัตราพิเศษ 15% สำหรับกำไรสุทธิส่วนที่ไม่เกิน 3,000,000 บาท และกำไรส่วนที่เกิน 3,000,000 บาท จะเสียภาษีในอัตราปกติ 20% (อ้างอิงตามพระราชกฤษฎีกาฯ ฉบับที่ 583 พ.ศ. 2558) หากรายได้ของนิติบุคคลยังไม่มากในช่วงเริ่มแรก การจดทะเบียนและ ยื่นภาษีออนไลน์ ในรูปแบบหลังจะช่วยให้ประหยัดภาษีของผู้ประกอบธุรกิจได้มากกว่า

@techvisionacc

ค่าบริการ ยื่นภาษีออนไลน์ บุคคลธรรมดา และ ยื่นภาษี ภาษีนิติบุคคล

แพ็กเกจ ยื่นภาษีออนไลน์ เงินได้บุคคลธรรมดา

Techvision Accounting บริการ ยื่นภาษี บุคคลธรรมดา โดยอำนวยความสะดวกให้ในเรื่องของการคำนวณภาษี และรวบรวมเอกสาร จัดทำแบบ ภ.ง.ด. 90, 91, 94 พร้อมแนบเอกสารต่างๆ ให้อย่างครบถ้วน รวมถึงนำส่งเอกสาร ยื่นภาษีออนไลน์ ให้กับผู้ประกอบการโดยทางเราจะดำเนินการจนเสร็จสิ้นและนำส่งใบเสร็จให้กับสำนักงานของท่าน รวมถึงให้คำปรึกษาด้านภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา โดยทีมงานที่มีประสบการณ์ด้านการวางแผนภาษีโดยตรง หมดปัญหาเรื่องภาษี ช่วยดำเนินการด้านภาษีให้ได้อย่างถูกต้องตามกฎหมายในราคาคุ้มค่า

แพ็กเกจ ยื่นภาษี เงินได้นิติบุคคล

Techvision Accounting บริการจัดทำบัญชี ปิดงบการเงิน และดำเนินการ ยื่นภาษี นิติบุคคล โดยเราดำเนินการเตรียมเอกสารและประเมินภาษีครึ่งปี และ ประเมินภาษีสิ้นปี ภ.ง.ด.51 ภ.ง.ด.50 ให้อย่างครบถ้วน รวมถึงนำส่งเอกสาร ยื่นภาษีออนไลน์ ให้กับกรมสรรพากร ซึ่งค่าบริการของนิติบุคคลจะรวมอยู่ในบริการ ปิดงบการเงินเรียบร้อยแล้ว ไม่คิดค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม Techvision Accounting พร้อมให้คำปรึกษาด้านภาษีเงินได้นิติบุคคลไม่คิดค่าบริการ

ผู้มีหน้าที่ ยื่นภาษี เงินได้ทั้งบุคคลธรรมดาและนิติบุคคลควรจะต้อง ทำความเข้าใจและให้ความสำคัญกับการวางแผนภาษีและค่าลดหย่อน ในส่วนของบุคคลธรรมดามีการเสียภาษีเงินได้ตามอัตราก้าวหน้า และในส่วนนิติบุคคลมีอัตราการเสียภาษีแบบคงที่ ซึ่งการวางแผน ยื่นภาษีออนไลน์ นั้น เป็นตัวช่วยในการวางแผนด้านการเงินและวินัยในการใช้จ่ายให้มีความเหมาะสม เพื่อให้เกิดประโยชน์ในระยะยาว และยังสามารถคำนวณการ ยื่นภาษี ได้อย่างถูกต้องตามระเบียบเและหลักเกณฑ์ของกฎหมาย การบริการของเรายังช่วยสร้างความคุ้มค่าให้กับผู้ประกอบการประหยัดเวลา หากท่านต้องการคำนวณภาษีได้อย่างถูกต้อง ไว้ใจให้ Techvision Accounting เป็นผู้ดูแลและร่วมวางแผนการ ยื่นภาษี ได้อย่างมั่นใจ ในการยื่นภาษีกับกรมสรรพากรนั้นสามารถให้เราเป็นตัวแทนของท่านในการขอยื่นเอกสาร ยื่นภาษีออนไลน์ ได้อีกช่องทางหนึ่ง เรายินดีให้บริการด้วยคุณภาพและความเต็มใจ

  • สนใจบริการรับจดทะเบียนบริษัท
  • ติดต่อ : บริษัท เทควิชั่น แอคเคาน์ติ้ง จำกัด
  • Techvision Accounting Co., Ltd.
  • 88/2 หมู่บ้านบุราสิริ-รังสิต หมู่ 7 ตำบลสวนพริกไทย อำเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี 12000