จดภาษีมูลค่าเพิ่ม หรือการจด VAT ตามที่กฎหมายกำหนดให้ผู้ที่มีรายได้เกิน 1.8 ล้านบาทต่อปี จะต้องจดภาษีมูลค่าเพิ่ม ที่กรมสรรพากร โดยรายได้ในที่นี้จะเป็นรายได้ที่รับจริง ๆ และยังไม่หักค่าใช้จ่ายใด ๆ โดยการยื่น จดภาษีมูลค่าเพิ่ม จะต้องยื่นภายใน 30 วันตั้งแต่ที่มีรายได้เกิน หากผู้ที่เข้าเกณฑ์หรือเงื่อนไขจะต้อง จดภาษีมูลค่าเพิ่ม แต่ไม่ทราบว่าจะต้องยื่นหรือลืมเช็คยอดรายได้ว่าถึง 1.8 ล้านบาทแล้ว จะมีโทษตามกฎหมาย จำคุกไม่เกิน 1 เดือนหรือปรับไม่เกิน 5,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ผู้ประกอบการสามารถตรวจสอบว่ากิจการของท่านได้รับการยกเว้น จดภาษีมูลค่าเพิ่ม ได้ที่ https://www.rd.go.th/
- จดภาษีมูลค่าเพิ่ม สามารถขอคืนภาษีซื้อได้ บริษัทที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มจากการที่บริษัทได้ไปซื้อหรือใช้บริการจากคู่ค้า จะสามารถบันทึกบัญชีเป็นภาษี และทำการขอคืนภาษีได้
- การจัดการของระบบบัญชี ตรวจสอบได้อย่างถูกต้อง และง่าย ทำการ จดภาษีมูลค่าเพิ่ม แล้ว บริษัทมีหน้าที่จัดทำรายงานภาษีซื้อ รายงานภาษีขาย เพื่อทำการยื่นภาษีมูลค่าเพิ่มให้กับกรมสรรพากร และนำมาลงบันทึกบัญชีในระบบ
- ช่วยเพิ่มโอกาสในการขาย ลูกค้าที่มาซื้อสินค้าหรือใช้บริการกับทางบริษัท มักจะต้องการใบกำกับภาษี โดยเฉพาะคู่ค้าที่จดทะเบียนบริษัท เนื่องจากคู่ค้าจะสามารถนำใบกำกับภาษีซื้อไปเคลมภาษีรายเดือนนั้น ๆ ดังนั้นบริษัทที่ทำการ จดภาษีมูลค่าเพิ่ม ยังเพิ่มโอกาสของยอดขายและคู่ค้าได้เพิ่มขึ้น รวมถึงความน่าเชื่อถือของกิจการได้
เพิ่มความน่าเชื่อถือมากขึ้นให้แก่บริษัท การ จดภาษีมูลค่าเพิ่ม เหมือนเป็นเครื่องหมายว่าบริษัทของเรามีตัวตนอยู่จริง เชื่อถือได้ เพราะการจดภาษีมูลค่าจะขึ้นชื่ออยู่เว็บกรมสรรพากร
- การจด จดภาษีมูลค่าเพิ่ม เวลาที่มีการซื้อสินค้า ราคาสินค้าหรือบริการจะต้องมีการบวกภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT7%) ทุกครั้ง อาจทำให้คู่ค้ามองว่าสินค้าเราแพงขึ้น
- จดภาษีมูลค่าเพิ่ม จะต้องจัดทำรายงานภาษีซื้อ รายงานภาษีขาย เพื่อยื่นแบบภาษีมูลค่าเพิ่ม (แบบภ.พ.30) ให้กับกรมสรรพากรทุกเดือน ตามระยะเวลาที่กฎหมายกำหนดของการ จดภาษีมูลค่าเพิ่ม ไม่ว่าจะมีรายการภาษีซื้อหรือภาษีขายหรือไม่ หากไม่ยื่นแบบภ.พ.30 จะต้องรับผิดชอบเบี้ยปรับเงินเพิ่มและค่าปรับอาญา
- ผู้ประกอบการที่ จดภาษีมูลค่าเพิ่ม จะต้องทราบถึงเรื่องใบกำกับภาษี เพราะผู้ประกอบการส่วนใหญ่จะไม่รู้เงื่อนไข รายละเอียดของการออกใบกำกับภาษี ตามกฎหมาย
กฎหมายกำหนดให้ผู้ที่มีรายได้เกิน 1.8 ล้านบาทต่อปี จะต้อง จดภาษีมูลค่าเพิ่ม ที่กรมสรรพากร โดยรายได้ในที่นี้จะเป็นรายได้ที่รับจริง ๆ และยังไม่หักค่าใช้จ่ายใด ๆ ซึ่งการยื่น จดภาษีมูลค่าเพิ่ม จะต้องยื่นภายใน 30 วันตั้งแต่ที่มีรายได้เกิน โดยหน้าที่ของผู้ประกอบการเมื่อได้ จดภาษีมูลค่าเพิ่ม จะต้องเรียกเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มหรือ VAT7% กับผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการที่จดภาษีมูลค่าเพิ่มจะมีหน้าที่ออกใบกำกับภาษี เพื่อเป็นหลักฐานในการเรียกเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม พร้อมทั้งผู้ประกอบการที่ จดภาษีมูลค่าเพิ่ม จะต้องจัดทำรายการตามกฎหมาย ซึ่งได้แก่ รายงานภาษีซื้อ รายงานภาษีขาย รายการสินค้าและวัตถุดิบ เพื่อยื่นแบบแสดงรายการเพื่อเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม ตามแบบภ.พ.30 ทุกเดือน ภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป
ปิดงบเปล่า คือ เป็นคำศัพท์ยอดฮิตสำหรับนักบัญชี สิ่งที่ผู้ประกอบการจะต้องทราบเกี่ยวกับการปิดงบเปล่า คือ งบการเงินของบริษัทที่จดทะเบียนในรูปแบบนิติบุคคล ไม่ว่าจะเป็น ห้างหุ้นส่วนจำกัด หรือบริษัทจำกัด แต่เป็นธุรกิจที่ไม่ดำเนินกิจการ ไม่มีรายการเคลื่อนไหว ทั้งรายรับ และรายจ่าย เช่น ซื้อสินค้า ค่าจ้าง ค่าบริการ ค่าแรงที่เกิดขึ้นในระหว่างปี ไม่ว่าจะอะไรก็แล้วแต่ที่เกี่ยวข้องกับบริษัทการ ปิดงบเปล่า
ปิดงบ บัญชี คือ การปิดงบการเงินที่แสดงรายงานทางการเงินและบัญชี ซึ่งจะแสดงให้เห็นถึงสถานการณ์ดำเนินงานของกิจการ ซึ่งประกอบกิจการด้วยงบแสดงฐานะทางการเงิน งบกำไรขาดทุน งบกระแสเงินสด และงบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น โดยหลังจากที่กิจการทำการจัดทำงบการเงินจะต้องมีการปิดงบการเงินหรือปิดงบการเงิน เมื่อถึงสิ้นรอบระยะเวลาบัญชี เพื่อนำส่งให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ปิดงบ บัญชี
ปิดงบการเงิน บริษัท หรือ “Closing Financial Statement” หมายถึง การสรุปรายการทางบัญชีประจำปีและจัดทำออกมาในรูปแบบงบการเงินเพื่อนำส่งหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดย ปิดงบการเงิน บริษัท มีความสำคัญอย่างมากสำหรับผู้ประกอบการทำให้ทราบถึงข้อมูลตัวเลขที่มาที่ไปต้นทุนต่าง ๆ ภายในธุรกิจนั้นเอง