ที่มาของคำว่า ปิดงบเปล่า คือ เป็นคำศัพท์ยอดฮิตสำหรับนักบัญชี สิ่งที่ผู้ประกอบการจะต้องทราบเกี่ยวกับการ ปิดงบเปล่า คือ งบการเงินของบริษัทที่จดทะเบียนในรูปแบบนิติบุคคล ไม่ว่าจะเป็น ห้างหุ้นส่วนจำกัด หรือบริษัทจำกัด แต่เป็นธุรกิจที่ไม่ดำเนินกิจการ ไม่มีรายการเคลื่อนไหว ทั้งรายรับ และรายจ่าย เช่น ซื้อสินค้า ค่าจ้าง ค่าบริการ ค่าแรงที่เกิดขึ้นในระหว่างปี ไม่ว่าจะอะไรก็แล้วแต่ที่เกี่ยวข้องกับบริษัทการ ปิดงบเปล่า ระหว่างปีนั้น กิจการของเราไม่มีการเคลื่อนไหวใด ๆ เลย งบการเงินของกิจการนั้นจะเรียกว่าการ ปิดงบเปล่า นั้นเอง
ปิดงบเปล่า คือ ถึงแม้กิจการของเราไม่มีรายการเคลื่อนไหวก็ตาม แต่จะไม่มีข้ออ้างที่จะไม่ยื่นงบการเงินประจำปี หรือการ ปิดงบเปล่า ซึ่งกฎหมายได้มีการกำหนดไว้ว่าการจดเป็นนิติบุคคลมีหน้าที่นำส่งงบการเงินต่อกรมพัฒนาธุรกิจการค้าและกรมสรรพากรตามรอบระยะเวลาบัญชี เราก็ยังจะต้องมีผู้ทำบัญชี ผู้สอบบัญชี เพื่อรับรองและนำส่ง ปิดงบเปล่า สิ้นรอบระยะเวลาบัญชี ปิดงบเปล่า หากมีปีใดปีหนึ่ง ผู้ประกอบการขาดการนำส่งงบการเงิน จะมีค่าเบี้ยปรับเงินเรื่อง 2 เรื่อง ได้แก่ นำส่งงบการเงินล่าช้า และนำส่งภาษีล่าช้า และอัตราค่าเบี้ยปรับเงินเพิ่มก็จะมีความแตกต่างกับตามระยะเวลาที่ล่าช้านั้นเอง
สำหรับบริษัท ปิดงบเปล่า เพื่อส่งนำส่งให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับกรมพัฒนาธุรกิจการค้า และกรมสรรพากร ตามระยะเวลาที่กำหนด ผู้ประกอบการจะต้องศึกษาในส่วนของเงื่อนไขต่าง ๆ ด้วย ดังนี้
- ปิดงบเปล่า จะต้องไม่มีต้นงวดยกมาตามหลักมาตรฐานการบัญชีหรืออาจจะเป็นงบการเงินปีแรกที่ไม่มีรายการเคลื่อนไหว
- ทุนจะต้องไม่เกิน 5,000,000 บาท หากนอกจากนี้จะไม่ถือว่าเป็นการ ปิดงบเปล่า
- ปิดงบเปล่า จะต้องไม่มีรายการเคลื่อนไหว รายรับ รายจ่ายของบัญชีธนาคารนิติบุคคล หากมีรายการเคลื่อนไหวในธนาคาร ไม่ถือว่าเป็นการ ปิดงบเปล่า
การ ปิดงบเปล่า จึงมีความจำเป็นสำหรับนิติบุคคล เมื่อถึงรอบระยะเวลาบัญชีที่จะต้องนำส่งกรมพัฒนาธุรกิจการค้าและกรมสรรพากร แม้ว่าปีนั้นงบการเงินจะไม่มีการเคลื่อนไหวก็จะต้องดำเนินการ ปิดงบเปล่า เพื่อหลีกเลี่ยงการถูกเรียกเก็บค่าปรับที่เกิดขึ้นจากการนำส่งงบการเงินและภาษีล่าช้า ดังนั้นผู้ประกอบการจะต้องจัดทำการ ปิดงบเปล่า นั้นเอง และจะต้องจัดทำงบการเงินที่มีผู้ทำบัญชีและผู้ตรวจสอบบัญชีรับรอง จึงจะสามารถนำส่งให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องของการ ปิดงบเปล่า
หน้าที่ของผู้ประกอบการเมื่อได้ จดภาษีมูลค่าเพิ่ม จะต้องเรียกเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มหรือ VAT7% กับผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการจดภาษีมูลค่าเพิ่ม มีหน้าที่ออกใบกำกับภาษีเพื่อเป็นหลักฐานในการเรียกเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม จัดทำรายการตามกฎหมาย ซึ่งได้แก่ รายงานภาษีซื้อ รายงานภาษีขาย รายการสินค้าและวัตถุดิบจดภาษีมูลค่าเพิ่ม เพื่อยื่นแบบแสดงรายการเพื่อเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม ตามแบบภ.พ.30 ทุกเดือน ภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป จดภาษีมูลค่าเพิ่ม
ปิดงบ บัญชี คือ การปิดงบการเงินที่แสดงรายงานทางการเงินและบัญชี ซึ่งจะแสดงให้เห็นถึงสถานการณ์ดำเนินงานของกิจการ ซึ่งประกอบกิจการด้วยงบแสดงฐานะทางการเงิน งบกำไรขาดทุน งบกระแสเงินสด และงบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น โดยหลังจากที่กิจการทำการจัดทำงบการเงินจะต้องมีการปิดงบการเงินหรือปิดงบการเงิน เมื่อถึงสิ้นรอบระยะเวลาบัญชี เพื่อนำส่งให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ปิดงบ บัญชี
ปิดงบการเงิน บริษัท หรือ “Closing Financial Statement” หมายถึง การสรุปรายการทางบัญชีประจำปีและจัดทำออกมาในรูปแบบงบการเงินเพื่อนำส่งหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดย ปิดงบการเงิน บริษัท มีความสำคัญอย่างมากสำหรับผู้ประกอบการทำให้ทราบถึงข้อมูลตัวเลขที่มาที่ไปต้นทุนต่าง ๆ ภายในธุรกิจนั้นเอง