เมื่อไหร่ที่ควร จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม บุคคลธรรมดา กล่าวคือ จดได้เมื่ออยากจดถ้ากิจการของคุณประกอบธุรกิจที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มและมีความต้องการใช้ภาษีซื้อเพื่อมาหักจากยอดภาษีขาย กรณีไม่ต้องการก็สามารถเลือกที่จะไม่จดทะเบียนได้ เนื่องจากกฎหมายบังคับให้ จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม บุคคลธรรมดา เมื่อมีรายได้ถึง 1.8 ล้านบาทในระหว่างปี ถ้าปีไหนถึงเกณฑ์นี้แปลว่าคุณมีภาระหน้าที่ต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มทันที โดยหลักการมีรายได้ จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม บุคคลธรรมดา 2 ประเภท ได้แก่
จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม บุคคลธรรมดา การนับยอด 1.8 ล้านบาท จะนับเมื่อมีรายได้ที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มรวมแล้วเกิน 1.8 ล้านบาท โดยไม่นับยอดของรายได้ที่ได้รับยกเว้นเป็นต้น
จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม บุคคลธรรมดา สามารถดำเนินการด้วยตนเองหรือจ้างสำนักงานบัญชี เพื่อความสะดวก สบายไม่ต้องเสียเวลากังวลเรื่องเอกสารแต่อย่างใด ซึ่งผู้ที่ต้องการ จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม บุคคลธรรมดา สามารถจัดเตรียมเอกสารตามข้างต้นได้ดังนี้
- แบบคำขอจดทะเบียน ภ.พ.01 และ ภ.พ.01.1
- หลักฐานที่ตั้งสถานประกอบการ
- แผนที่พร้อมภาพถ่ายสถานประกอบการ ที่มีบ้านเลขที่ จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม บุคคลธรรมดา
- สำเนาบัตรประชาชนและสำเนาทะเบียนบ้าน
- สำเนาใบทะเบียนพาณิชย์
- ภาพถ่ายหนังสือตั้งตัวแทนเป็นลายลักษณ์อักษร
หลังจากยื่นเอกสาร จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม บุคคลธรรมดา ครบแล้วกรมสรรพากรจะออกเอกสาร ใบทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มแบบ ภ.พ. 20 ภายใน 60 วัน โดยมีผลให้เป็นผู้ประกอบสามารถออกบิลใบกำกับภาษีได้ตั้งแต่วันที่ยื่นคำขอจดทะเบียนเสร็จสิ้น
บริษัท เทควิชั่น แอคเคาน์ติ้ง จำกัด บริการรับ จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม บุคคลธรรมดา ในราคาเริ่มต้นเพียง 5,500 บาท ในส่วนของการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มนอกเขตกรุงเทพและปริมณฑล (นอกเขตพื้นที่บริการ) หากให้เราเตรียมเอกสารให้ โดยคุณลูกค้าไปดำเนินการด้วยตนเอง ราคาอยู่ที่ 2,000 บาท ราคานี้รวมภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว และค่าธรรมเนียมไม่บวกเพิ่มโดยราคาค่า จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม บุคคลธรรมดา อาจมีการเปลี่ยนแปลงไปตามความซับซ้อนของธุรกิจหรือแพ็กเกจที่เลือกตามความเหมาะสมของประเภทธุรกิจซึ่งทางเรายินดีให้คำปรึกษาด้านบัญชีและภาษีอากรตลอดการให้บริการเพื่อให้ผู้ประกอบธุรกิจที่เลือกใช้บริการ จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม บุคคลธรรมดา กับทางเรารวดเร็ว และได้รับสิทธิประโยชน์มากมาย
จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม บุคคลธรรมดา เมื่อมีรายได้ถึง 1.8 ล้านบาทในระหว่างปี ถ้าปีไหนถึงเกณฑ์นี้แปลว่าคุณมีภาระหน้าที่ต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มทันทีโดยหลักการมีรายได้ จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม บุคคลธรรมดา 2 ประเภท คือ รายได้ที่ได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม และรายได้ที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม ทั้งนี้สามารถดำเนินการจดทะเบียนด้วยตนเองหรือจ้างสำนักงานบัญชี ซึ่งผู้ประกอบการสามารถจัดเตรียมเอกสารตามข้างต้นได้ดังนี้
- แบบคำขอจดทะเบียน ภ.พ.01 และ ภ.พ.01.1
- หลักฐานที่ตั้งสถานประกอบการ
- แผนที่พร้อมภาพถ่ายสถานประกอบการ ที่มีบ้านเลขที่ จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม บุคคลธรรมดา
- สำเนาบัตรประชาชนและสำเนาทะเบียนบ้าน
- สำเนาใบทะเบียนพาณิชย์
- ภาพถ่ายหนังสือตั้งตัวแทนเป็นลายลักษณ์อักษร
หลังจากยื่นเอกสาร จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม บุคคลธรรมดา เสร็จสิ้นจะมีผลให้เป็นผู้ประกอบสามารถออกบิลใบกำกับภาษีได้ตั้งแต่วันที่ยื่นคำขอจดทะเบียนเสร็จสิ้น
ปิดงบเปล่า คือ เป็นคำศัพท์ยอดฮิตสำหรับนักบัญชี สิ่งที่ผู้ประกอบการจะต้องทราบเกี่ยวกับการปิดงบเปล่า คือ งบการเงินของบริษัทที่จดทะเบียนในรูปแบบนิติบุคคล ไม่ว่าจะเป็น ห้างหุ้นส่วนจำกัด หรือบริษัทจำกัด แต่เป็นธุรกิจที่ไม่ดำเนินกิจการ ไม่มีรายการเคลื่อนไหว ทั้งรายรับ และรายจ่าย เช่น ซื้อสินค้า ค่าจ้าง ค่าบริการ ค่าแรงที่เกิดขึ้นในระหว่างปี ไม่ว่าจะอะไรก็แล้วแต่ที่เกี่ยวข้องกับบริษัทการ ปิดงบเปล่า
หน้าที่ของผู้ประกอบการเมื่อได้ จดภาษีมูลค่าเพิ่ม จะต้องเรียกเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มหรือ VAT7% กับผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการจดภาษีมูลค่าเพิ่ม มีหน้าที่ออกใบกำกับภาษีเพื่อเป็นหลักฐานในการเรียกเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม จัดทำรายการตามกฎหมาย ซึ่งได้แก่ รายงานภาษีซื้อ รายงานภาษีขาย รายการสินค้าและวัตถุดิบจดภาษีมูลค่าเพิ่ม เพื่อยื่นแบบแสดงรายการเพื่อเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม ตามแบบภ.พ.30 ทุกเดือน ภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป จดภาษีมูลค่าเพิ่ม
ปิดงบ บัญชี คือ การปิดงบการเงินที่แสดงรายงานทางการเงินและบัญชี ซึ่งจะแสดงให้เห็นถึงสถานการณ์ดำเนินงานของกิจการ ซึ่งประกอบกิจการด้วยงบแสดงฐานะทางการเงิน งบกำไรขาดทุน งบกระแสเงินสด และงบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น โดยหลังจากที่กิจการทำการจัดทำงบการเงินจะต้องมีการปิดงบการเงินหรือปิดงบการเงิน เมื่อถึงสิ้นรอบระยะเวลาบัญชี เพื่อนำส่งให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ปิดงบ บัญชี