ปิดงบการเงิน ราคา สำหรับรอบระยะเวลาบัญชีจะหมายถึง ช่วงเวลาหนึ่งซึ่งเกิดขึ้นจากการที่กิจการทำบัญชีบันทึกบัญชีที่เกิดขึ้นระหว่างรอบระยะเวลาที่กำหนด ซึ่งโดยทั่วไปรอบระยะเวลาบัญชีจะกำหนดไว้ที่ไม่เกิน 12 เดือนหรือ 1 ปี โดยเริ่ม ปิดงบการเงิน ราคา ตามรอบวันที่ 1 มกราคม-31 ธันวาคม เรียกว่ารอบปีบัญชีปกติ ทั้งนี้จะมีการกำหนดรอบแบบพิเศษคือการ ปิดงบการเงิน ราคา รอบระหว่างกาล เมื่อนิติบุคคลจดทะเบียนใหม่จดทะเบียนจัดตั้งช่วงกลางปี แต่ต้องการที่จะปิดงบภายในรอบ 12 เดือน โดยจะนับตั้งแต่วันที่จดทะเบียนไปจนครบ 12 เดือน เช่น หากจดทะเบียน 1 เมษายน วันที่ 1 เมษายน-31 มีนาคมของปีถัดไป เป็นวันครบกำหนดรอบบัญชีระหว่างกาลและต้องทำการ ปิดงบการเงิน ราคา และนำส่งงบตามกำหนดเวลาให้แก่กรมสรรพากรและกรมพัฒนาธุรกิจการค้า
ปิดงบการเงิน ราคา จะแสดงให้เห็นฐานะการเงิน ผลการดำเนินงานและการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นของกิจการในแต่ละรอบปีบัญชี โดยรายงาน ปิดงบการเงิน ราคา ประกอบไปด้วย งบแสดงฐานะทางการเงินงบกำไรขาดทุน งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น หมายเหตุประกอบการ ปิดงบการเงิน ราคา และรายงานผู้ตรวจสอบบัญชีผู้ซึ่งแสดงความคิดเห็นต่องบการเงินของกิจการที่เกิดขึ้นในรอบระยะบัญชีของท่าน ในแต่ละปีกิจการจะต้อง ปิดงบการเงิน ราคา อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง เพื่อให้ได้รายงานดังกล่าว แล้วนำส่งให้กับหน่วยงานราชการ
ปิดงบการเงิน ราคา สามารถจำแนกตามประเภทของนิติบุคคลได้ดังนี้
- ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล ห้างหุ้นส่วนจำกัด นิติบุคคลที่จดทะเบียนขึ้นตามกฎหมายไทย และกิจการร่วมค้าตามประมวลรัษฎากรจะต้องยื่น ปิดงบการเงิน ราคา ภายใน 5 เดือนนับตั้งแต่วันสิ้นรอบระยะเวลาบัญชี เช่น รอบปีบัญชีสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565 จะต้องยื่นงบการเงินภายในเดือนพฤษภาคม 2567
- บริษัทจำกัดและบริษัทมหาชนจำกัด ต้องมีการจัดทำงบการเงินเพื่อให้ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตตรวจสอบและรับรองงบการเงิน แล้วจึงนำเสนอ ปิดงบการเงิน ราคา ต่อที่ประชุมใหญ่เพื่ออนุมัติงบการเงิน โดยจะต้องจัดให้มีการประชุมเพื่ออนุมัติงบการเงินภายใน 4 เดือน นับตั้งแต่วันสิ้นรอบบัญชี และนำส่งสำเนาบัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้น (บอจ.5) ภายใน 14 วันนับตั้งแต่วันที่ประชุมใหญ่สามัญผู้ถือหุ้นประจำปี ดังนั้นจะต้อง ปิดงบการเงิน ราคา ในรอบปีบัญชีสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคมของทุกปี จะต้องจัดประชุมผู้ถือหุ้นภายใน 30 เมษายนของปีถัดไป และนำส่งงบการเงินภายใน 31 พฤษภาคมของปีถัดไป
การ ปิดงบการเงิน ราคา ถือเป็นเรื่องสำคัญของบริษัทที่จดทะเบียนเป็นนิติบุคคล อย่างบริษัทจำกัด หรือห้างหุ้นส่วนจำกัด ควรให้ความสำคัญกับการ ปิดงบการเงิน ราคา เพราะกฎหมายได้กำหนดว่าจะต้องดำเนินการจัดส่งงบการเงินให้แก่หน่วยงานราชการอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง โดยกิจการการสามารถที่จะทำการ ปิดงบการเงิน ราคา มากกว่านั้นได้ เพราะการปิดงบการเงินเป็นเหมือนการสะท้อนภาพรวมของกิจการในแต่ละปีช่วยให้ผู้ประกอบธุรกิจทราบถึงข้อมูลทางการเงิน ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา และเป็นข้อมูลสำคัญที่ช่วยประกอบการตัดสินใจในการวางแผนของธุรกิจในอนาคต ดังนั้น ผู้ประกอบธุรกิจทุกท่านอย่าลืม ปิดงบการเงิน ราคา เมื่อสิ้นรอบระยะเวลาบัญชี และนำส่งงบให้ตรงเวลา
ปิดงบเปล่า คือ เป็นคำศัพท์ยอดฮิตสำหรับนักบัญชี สิ่งที่ผู้ประกอบการจะต้องทราบเกี่ยวกับการปิดงบเปล่า คือ งบการเงินของบริษัทที่จดทะเบียนในรูปแบบนิติบุคคล ไม่ว่าจะเป็น ห้างหุ้นส่วนจำกัด หรือบริษัทจำกัด แต่เป็นธุรกิจที่ไม่ดำเนินกิจการ ไม่มีรายการเคลื่อนไหว ทั้งรายรับ และรายจ่าย เช่น ซื้อสินค้า ค่าจ้าง ค่าบริการ ค่าแรงที่เกิดขึ้นในระหว่างปี ไม่ว่าจะอะไรก็แล้วแต่ที่เกี่ยวข้องกับบริษัทการ ปิดงบเปล่า
หน้าที่ของผู้ประกอบการเมื่อได้ จดภาษีมูลค่าเพิ่ม จะต้องเรียกเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มหรือ VAT7% กับผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการจดภาษีมูลค่าเพิ่ม มีหน้าที่ออกใบกำกับภาษีเพื่อเป็นหลักฐานในการเรียกเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม จัดทำรายการตามกฎหมาย ซึ่งได้แก่ รายงานภาษีซื้อ รายงานภาษีขาย รายการสินค้าและวัตถุดิบจดภาษีมูลค่าเพิ่ม เพื่อยื่นแบบแสดงรายการเพื่อเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม ตามแบบภ.พ.30 ทุกเดือน ภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป จดภาษีมูลค่าเพิ่ม
ปิดงบ บัญชี คือ การปิดงบการเงินที่แสดงรายงานทางการเงินและบัญชี ซึ่งจะแสดงให้เห็นถึงสถานการณ์ดำเนินงานของกิจการ ซึ่งประกอบกิจการด้วยงบแสดงฐานะทางการเงิน งบกำไรขาดทุน งบกระแสเงินสด และงบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น โดยหลังจากที่กิจการทำการจัดทำงบการเงินจะต้องมีการปิดงบการเงินหรือปิดงบการเงิน เมื่อถึงสิ้นรอบระยะเวลาบัญชี เพื่อนำส่งให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ปิดงบ บัญชี