สวัสดีค่ะ หากคุณต้องการติดต่อเรา สามารถเลือกช่องทางการติดต่อด้านล่างได้เลยค่ะ
logoบทความ/ข่าวสาร

ปิดงบการเงิน ร้านอาหาร กับ Techvision Accounting



หน้าแรก

>

บทความ

>

ปิดงบการเงิน ร้านอาหาร กับ Techvision Accounting

151 views

ปิดงบการเงิน ร้านอาหาร กับ Techvision Accounting

     ปิดงบการเงิน ร้านอาหาร เจ้าของธุรกิจที่จดทะเบียนนิติบุคคลแล้วทั่วไปกระบวนการทำธุรกิจประกอบด้วย การซื้อสินค้า การขายสินค้า การบริการ และการรับจ่ายเงิน ทำให้บัญชีแทบทุกธุรกิจรวมถึง ปิดงบการเงิน ร้านอาหาร จะต้องมีเหมือนๆ กันคือ บัญชี 5 ประเภท ได้แก่

  1. ซื้อ
  2. ขาย
  3. จ่าย
  4. รับ
  5. ทั่วไป 

       โดยแต่ละบัญชีจะมีหลักฐานทางการเงิน ที่จะต้องรวบรวมเอกสารหลักฐานของบัญชีแต่ละประเภทนี้มาแยกรายได้ ค่าใช้จ่าย แบบภาษีต่างๆ มาบันทึกข้อมูลเพื่อใช้ประกอบ ปิดงบการเงิน ร้านอาหาร ซึ่งทั่วไปแล้วรอบบัญชีจะเป็นวันที่ 31 ธันวาคม เจ้าของธุรกิจต้อง ปิดงบการเงิน ร้านอาหาร ให้เสร็จสิ้นภายในเดือนพฤษภาคมของทุกปี กล่าวคือ การส่งงบการเงินให้กรมพัฒนาธุรกิจการค้า และยื่นนำส่งภาษีเงินได้นิติบุคคลประจำปีให้กรมสรรพากร เป็นต้น

นิติบุคคล ปิดงบการเงิน ร้านอาหาร ไม่ทันตามกำหนดจะส่งผลเสียอย่างไร?

     กำหนดการ ปิดงบการเงิน ร้านอาหาร วันสุดท้ายของการยื่นงบการเงิน คือ 1 เดือนนับแต่วันที่ได้รับอนุมัติในที่ประชุมผู้ถือหุ้น เช่น ประชุมผู้ถือหุ้น 30 เมษายน ต้องยื่นงบการเงินภายใน 31พฤษภาคม เป็นต้น โดยอัตราค่าปรับกรณียื่น ปิดงบการเงิน ร้านอาหาร ล่าช้ามีความแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับประเภทธุรกิจและระยะเวลาที่ล่าช้า โดยอัตราค่าปรับต่อไปนี้รวมค่าปรับทั้งในส่วนของผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชีและกรรมการผู้จัดการ/หุ้นส่วนผู้จัดการผู้รับผิดชอบในการดำเนินงาน ปิดงบการเงิน ร้านอาหาร

  • ในกรณียื่นงบการเงินล่าช้าไม่เกิน 2 เดือน

ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน : 2,000 บาท

บริษัทจำกัด : 2,000บาท

  • กรณียื่นงบการเงินล่าช้าไม่เกิน 4 เดือน แต่เกิน 2 เดือน

ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน : 8,000 บาท

บริษัทจำกัด : 8,000 บาท

  • หากยื่นงบการเงินล่าช้าเกินกว่า 4 เดือน หรือไม่ยื่น ปิดงบการเงิน ร้านอาหาร

ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน : 12,000บาท

บริษัทจำกัด : 12,000 บาท

ค่าบริการ ปิดงบการเงิน ร้านอาหาร กับ Techvision Accounting

     ปิดงบการเงิน ร้านอาหาร กับ บริษัท Techvision Accounting ราคาเริ่มต้นสำหรับห้างหุ้นส่วนจำกัดเริ่มต้น 15,000 บาทและสำหรับบริษัท 18,000 บาท โดยอัตราค่าบริการอาจมีการเปลี่ยนแปลงไปตามความซับซ้อนของธุรกิจหรือปริมาณเอกสารที่ต้องบันทึกทางเรายินดีให้คำปรึกษาด้านการ ปิดงบการเงิน ร้านอาหาร ที่เป็นประโยชน์กับธุรกิจในราคาที่ย่อมเยาหากท่านมีข้อสงสัยสามารถสอบถามรายละเอียดการ ปิดงบการเงิน ร้านอาหาร ได้ทุกช่องทางเราจะมีนักบัญชีผู้เชี่ยวชาญคอยให้คำแนะนำพร้อมอัปเดตกฎหมายเกี่ยวกับการปิดงบการเงิน โดยทางสำนักงานจะมุ่งเน้นและรักษาความลับของลูกค้าเป็นหลัก

     ปิดงบการเงิน ร้านอาหาร เจ้าของธุรกิจที่จดทะเบียนนิติบุคคลแล้ว ทั่วไปกระบวนการทำธุรกิจประกอบด้วย การซื้อสินค้า การขายสินค้า การให้บริการ และการรับจ่ายเงิน ทำให้บัญชีแทบทุกธุรกิจรวมถึง ปิดงบการเงิน ร้านอาหาร จะต้องมีเหมือนๆ กันคือ บัญชี 5 ประเภท ได้แก่ ซื้อ ขาย จ่าย รับ และทั่วไป โดย ปิดงบการเงิน ร้านอาหาร แต่ละบัญชีจะมีหลักฐานทางการเงินที่จะต้องรวบรวมเอกสารหลักฐานของบัญชีแต่ละประเภทนี้มาแยกรายได้ ค่าใช้จ่าย แบบภาษีต่างๆ มาบันทึกข้อมูลเพื่อใช้ประกอบ ปิดงบการเงิน ร้านอาหาร ทั้งนี้กำหนดการวันสุดท้ายสำหรับรอบบัญชีวันที่ 31 ธันวาคม จะต้องยื่นงบการเงินแก่ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า และกรมสรรพากร ภายในวันที่ 31พฤษภาคม เป็นต้น



ข่าวสารล่าสุด

ความสำคัญของการ ปิดงบเปล่า 2567 ในการดำเนินธุรกิจ
ความสำคัญของการ ปิดงบเปล่า 2567 ในการดำเนินธุรกิจ

เรียนรู้ขั้นตอนสำคัญในการ ปิดงบเปล่า 2567 เพื่อให้ธุรกิจของคุณเป็นไปตามข้อกำหนดทางบัญชีและกฎหมาย พร้อมเคล็ดลับที่ช่วยให้การดำเนินการราบรื่น ประหยัดเวลา และลดความเสี่ยงจากการตรวจสอบ สร้างความมั่นคงทางการเงินและเตรียมพร้อมสำหรับอนาคตอย่างมั่นใจ

22/12/2024 17:00
ที่มาของคำว่า ปิดงบเปล่า คืออะไร
ที่มาของคำว่า ปิดงบเปล่า คืออะไร

ปิดงบเปล่า คือ เป็นคำศัพท์ยอดฮิตสำหรับนักบัญชี สิ่งที่ผู้ประกอบการจะต้องทราบเกี่ยวกับการปิดงบเปล่า คือ งบการเงินของบริษัทที่จดทะเบียนในรูปแบบนิติบุคคล ไม่ว่าจะเป็น ห้างหุ้นส่วนจำกัด หรือบริษัทจำกัด แต่เป็นธุรกิจที่ไม่ดำเนินกิจการ ไม่มีรายการเคลื่อนไหว ทั้งรายรับ และรายจ่าย เช่น ซื้อสินค้า ค่าจ้าง ค่าบริการ ค่าแรงที่เกิดขึ้นในระหว่างปี ไม่ว่าจะอะไรก็แล้วแต่ที่เกี่ยวข้องกับบริษัทการ ปิดงบเปล่า

15/12/2024 17:00
ใครบ้างที่มีหน้าที่ต้อง จดภาษีมูลค่าเพิ่ม ?
ใครบ้างที่มีหน้าที่ต้อง จดภาษีมูลค่าเพิ่ม ?

หน้าที่ของผู้ประกอบการเมื่อได้ จดภาษีมูลค่าเพิ่ม จะต้องเรียกเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มหรือ VAT7% กับผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการจดภาษีมูลค่าเพิ่ม มีหน้าที่ออกใบกำกับภาษีเพื่อเป็นหลักฐานในการเรียกเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม จัดทำรายการตามกฎหมาย ซึ่งได้แก่ รายงานภาษีซื้อ รายงานภาษีขาย รายการสินค้าและวัตถุดิบจดภาษีมูลค่าเพิ่ม เพื่อยื่นแบบแสดงรายการเพื่อเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม ตามแบบภ.พ.30 ทุกเดือน ภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป จดภาษีมูลค่าเพิ่ม

14/12/2024 17:00