ปิดงบ บัญชี คือ การปิดงบการเงินที่แสดงรายงานทางการเงินและบัญชี ซึ่งจะแสดงให้เห็นถึงสถานการณ์ดำเนินงานของกิจการ ซึ่งประกอบกิจการด้วยงบแสดงฐานะทางการเงิน งบกำไรขาดทุน งบกระแสเงินสด และงบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น โดยหลังจากที่กิจการทำการจัดทำงบการเงินจะต้องมีการ ปิดงบ บัญชี หรือปิดงบการเงิน เมื่อถึงสิ้นรอบระยะเวลาบัญชี เพื่อนำส่งให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งกรมพัฒนาธุรกิจการค้าและกรมสรรพากรตามที่กฎหมายกำหนด ดังนี้การ ปิดงบ บัญชี เราจะมาช่วยอธิบายเพิ่มเติมเพื่อให้เข้าใจถึงการ ปิดงบ บัญชี
ปิดงบ บัญชี คือการจัดทำงบการเงินเมื่อถึงกำหนดตามรอบระยะเวลาบัญชีหรือสิ้นรอบระยะเวลาบัญชี เพื่อส่งงบการเงินให้กับทางกรมพัฒนาธุรกิจการค้าและกรมสรรพากร โดยผู้ที่มีหน้าที่ ปิดงบ บัญชี คือกิจการที่จดทะเบียนนิติบุคคลทุกประเภท ซึ่งนิติบุคคลอย่างบริษัทจำกัด หรือห้างหุ้นส่วนจำกัด จะต้อง ปิดงบ บัญชี ตามที่กฎหมายกำหนดปีละ 1 ครั้ง และที่สำคัญจะต้องจัดหาผู้ทำบัญชีและผู้ตรวจสอบบัญชีรับรอง เพื่อจัดส่งงบการเงินตามกำหนด เพื่อหลีกเลี่ยงโทษปรับหากนำส่ง ปิดงบ บัญชี ล่าช้า ทั้งนี้ การปิดงบการเงิน สำหรับบริษัททั่วไปจะดำเนินการโดยนักบัญชีในตำแหน่งสมุห์บัญชี ผู้จัดการแผนกบัญชี ผู้ทำบัญชี เป็นพนักงานประจำของบริษัท แต่ถ้าเป็นบริษัทเปิดใหม่ บริษัทขนาดเล็ก หรือที่ยังไม่มีเงินทุนมากพอในการจ้างพนักงานบัญชี ก็ยังมีตัวเลือกคือ สำนักงานบัญชี หรือผู้รับทำบัญชีฟรีแลนซ์ ให้บริการรับปิดงบการเงิน รวมถึงบริการด้านบัญชีและภาษีอื่น ๆ ด้วย
การ ปิดงบ บัญชี นั้นจะทำเพื่อการนำส่งงบการเงินให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเท่านั้น แต่ยังทำประโยชน์ให้กับกิจการได้อีกหลาย ๆ ส่วนดังนี้
- ทำให้เจ้าของธุรกิจได้เห็นถึงตัวเลขที่แท้จริงของผลประกอบการ ว่าปีนี้มีฐานะทางการเงินและผลการดำเนินงานเป็นอย่างไร สามารถนำไปตัดสินใจวางแผนธุรกิจในอนาคตได้
- การ ปิดงบ บัญชี จะทำให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้องพร้อมที่จะส่งต่อให้ผู้รับรองบัญชีหรือผู้สอบบัญชีทำการตรวจสอบต่อไปได้อย่างถูกต้องและครบถ้วน ก็จะทำให้ง่ายและสะดวกต่อการตรวจสอบบัญชี
- ข้อมูลจากการ ปิดงบ บัญชี เจ้าของธุรกิจสามารถนำไปจัดทำการวิเคราะห์เรื่องต่าง ๆ ได้ เช่น การวิเคราะห์ยอดขาย สินค้าคงเหลือ ลูกหนี้การค้า และเจ้าหนี้การค้า
- เจ้าของธุรกิจยังสามารถกำหนดการจ่ายเงินปันผลหรือดูถึงกำไรสะสมจากตัวเลขของผลกำไรที่ได้จากการปิดงบการเงินได้
- กิจการสามารถ ปิดงบ บัญชี ได้ทุกเดือนหรือทุก ๆ ไตรมาส เพื่อทราบผลของตัวเลขทางการเงินของกิจการ จะช่วยทำให้ทราบข้อมูลทางการเงินที่อัปเดต และยังเป็นประโยชน์ต่อการตัดสินใจของเจ้าของธุรกิจมากขึ้น
ถ้าพิจารณาถึงความเป็นจริงในการทำธุรกิจ การ ปิดงบ บัญชี ไม่ได้มีหน้าที่แค่นำส่งให้กับกรมพัฒนาธุรกิจการค้าและกรมสรรพากรปีละ 1 ครั้งเท่านั้น เพราะเจ้าของกิจการจะได้ประโยชน์จากการ ปิดงบ บัญชี หรืองบการเงินนี้ด้วย เช่นทำให้เจ้าของธุรกิจได้เห็นถึงตัวเลขที่แท้จริงของผลประกอบการ ว่าปีนี้มีฐานะทางการเงินและผลการดำเนินงานเป็นอย่างไร สามารถนำไปตัดสินใจวางแผนธุรกิจในอนาคตได้อย่างไรบ้าง และการ ปิดงบ บัญชี จะทำให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้องพร้อมที่จะส่งต่อให้ผู้รับรองบัญชีหรือผู้สอบบัญชีทำการตรวจสอบต่อไปได้อย่างถูกต้องและครบถ้วน หรือสามารถทำให้มองเห็นถึงตัวเลขของผลประกอบการ กำไร ขาดทุน และสินทรัพย์ของกิจการ เพื่อนำข้อมูลจาก ปิดงบ บัญชี ไปวางแผนธุรกิจต่อไปได้ในอนาคต
ปิดงบเปล่า คือ เป็นคำศัพท์ยอดฮิตสำหรับนักบัญชี สิ่งที่ผู้ประกอบการจะต้องทราบเกี่ยวกับการปิดงบเปล่า คือ งบการเงินของบริษัทที่จดทะเบียนในรูปแบบนิติบุคคล ไม่ว่าจะเป็น ห้างหุ้นส่วนจำกัด หรือบริษัทจำกัด แต่เป็นธุรกิจที่ไม่ดำเนินกิจการ ไม่มีรายการเคลื่อนไหว ทั้งรายรับ และรายจ่าย เช่น ซื้อสินค้า ค่าจ้าง ค่าบริการ ค่าแรงที่เกิดขึ้นในระหว่างปี ไม่ว่าจะอะไรก็แล้วแต่ที่เกี่ยวข้องกับบริษัทการ ปิดงบเปล่า
หน้าที่ของผู้ประกอบการเมื่อได้ จดภาษีมูลค่าเพิ่ม จะต้องเรียกเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มหรือ VAT7% กับผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการจดภาษีมูลค่าเพิ่ม มีหน้าที่ออกใบกำกับภาษีเพื่อเป็นหลักฐานในการเรียกเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม จัดทำรายการตามกฎหมาย ซึ่งได้แก่ รายงานภาษีซื้อ รายงานภาษีขาย รายการสินค้าและวัตถุดิบจดภาษีมูลค่าเพิ่ม เพื่อยื่นแบบแสดงรายการเพื่อเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม ตามแบบภ.พ.30 ทุกเดือน ภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป จดภาษีมูลค่าเพิ่ม
ปิดงบการเงิน บริษัท หรือ “Closing Financial Statement” หมายถึง การสรุปรายการทางบัญชีประจำปีและจัดทำออกมาในรูปแบบงบการเงินเพื่อนำส่งหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดย ปิดงบการเงิน บริษัท มีความสำคัญอย่างมากสำหรับผู้ประกอบการทำให้ทราบถึงข้อมูลตัวเลขที่มาที่ไปต้นทุนต่าง ๆ ภายในธุรกิจนั้นเอง