สวัสดีค่ะ หากคุณต้องการติดต่อเรา สามารถเลือกช่องทางการติดต่อด้านล่างได้เลยค่ะ
logoบทความ/ข่าวสาร

นิติบุคคลจำเป็นหรือไม่ของการ ปิดงบเปล่า คือ ?



หน้าแรก

>

บทความ

>

นิติบุคคลจำเป็นหรือไม่ของการ ปิดงบเปล่า คือ ?

52 views

นิติบุคคลจำเป็นหรือไม่ของการ ปิดงบเปล่า คือ ?

     ปิดงบเปล่า คือ ปัญหาของบริษัทที่จดเป็นนิติบุคคล แต่ยังไม่เกิดรายได้เคลื่อนไหวใดๆ หรือไม่มีรายการรับรายการจ่าย หรือบางบริษัทเปิดบริษัทมาเพื่อใช้ในการประมูลงาน รวมถึงจดทะเบียนนิติบุคคลที่มีไว้เพื่อรับงานแต่ยังไม่ได้เริ่มรับงาน จึงอาจละเลยการทำบัญชีโดยไม่คิดว่าการไม่มีรายรับรายจ่ายใดๆ ก็ไม่จำเป็นต้อง ปิดงบเปล่า คือ ถือว่าเป็นความคิดที่ผิด เพราะตามกฎหมายได้กำหนดไว้ให้ผู้ที่จดทะเบียนเป็นนิติบุคคลทุกนิติ จะต้องจัดทำบัญชีส่งหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เมื่อถึงรอบปิดรอบ ปิดงบเปล่า คือ ประจำปีก็จะต้อง ปิดงบเปล่า คือ ให้ทั้งกรมพัฒนาธุรกิจการและกรมสรรพากร แต่ผู้ประกอบการหลายท่านไม่ทราบถึงข้อมูลส่วนนี้

งบการเงินและการ ปิดงบเปล่า คือ

     ปิดงบเปล่า คือ งบการเงินของบริษัทที่จดทะเบียนเป็นนิติบุคคล แต่ไม่ได้ดำเนินกิจการ ไม่มีรายได้และค่าใช้จ่ายใด ๆ ไม่มีรายการเคลื่อนไหว รับจ่าย ซึ่งถ้าตลอดปีปฏิทินการ ปิดงบเปล่า คือ ไม่มีรายการเคลื่อนไหวเลย ผู้ประกอบการก็ยังต้องมีหน้าที่ปิดงบการเงินนำส่งให้กรมพัฒนาธุรกิจการค้าและกรมสรรพากรประจำปีทุกปี ตามกฎหมายกำหนด โดยช่วงที่ต้อง ปิดงบเปล่า คือ จะต้องมีผู้ทำบัญชีจัดทำบัญชีจัดทำงบเปล่า และจะต้องมีผู้สอบบัญชีรับรองพร้อมตรวจสอบบัญชีพร้อมเซ็นรับรอง จากนั้นนำส่งให้กรรมการลงลายมือชื่อ พร้อมประทับตรา(ถ้ามี) อนุมัติงบการเงิน และหลังจากอนุมัติแล้วให้นำส่ง ปิดงบเปล่า คือ ให้กับกรมพัฒนาธุรกิจการค้าและกรมสรรพากรภายใน 1 เดือน

ทราบถึงเงื่อนไขของการ ปิดงบเปล่า คือ

     สำหรับการ ปิดงบเปล่า คือ เพื่อส่งให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องนั้น ผู้ประกอบการจะต้องศึกษาเงื่อนไขต่าง ๆ ที่บ่งบอกว่ากิจการของคุณจะต้องปิดงบเปล่า ดังนี้

  1. ปิดงบเปล่า คือ ไม่ต้องมีรายละเอียดต้นงวดยกมาที่เป็นสาระสำคัญ
  2. ทุนจดทะเบียนของบริษัท จะต้องไม่เกิน 5 ล้านบาท นอกจากจะไม่ถือว่าเป็นการปิดงบเปล่า
  3. ปิดงบเปล่า คือ ต้องไม่มีรายการเคลื่อนไหวของบัญชีธนาคารนิติบุคคล หากงบที่มีรายการเคลื่อนไหวในธนาคาร ไม่ถือว่าเป็นงบเปล่าเพราะทุกรายการทุกการเคลื่อนไหว จะต้องนำมาบันทึกบัญชีทั้งหมด
  4. ปิดงบเปล่า คือ ห้างหุ้นส่วนจำกัดที่มีทุนไม่เกิน 5 ล้านบาท และมีรายได้ต่อปีไม่เกิน 30 ล้านบาท และมีทรัพย์สินรวมไม่เกิน 30 ล้าน แบ่งเป็น 2 เงื่อนไข คือ
    1. ส่งงบเปล่าให้กรมพัฒนาธุรกิจการค้า ไม่ต้องมีผู้สอบบัญชีรับรองและแสดงความเห็น
    2. ส่งงบเปล่าให้กรมสรรพากร ต้องมีผู้สอบบัญชีภาษีอากรเซ็นรับรองงบการเงิน

     ปิดงบเปล่า คือ การปิดงบการเงินจึงมีความจำเป็นสำหรับกิจการที่จดทะเบียนเป็นนิติบุคคลทุกนิติ เมื่อถึงระยะเวลาสิ้นรอบบัญชีจะต้อง ปิดงบเปล่า คือ และนำส่งให้แก่กรมพัฒนาธุรกิจการค้าและกรมสรรพากร แม้ว่าเป็นปีนั้น ๆ งบการเงินจะไม่มีรายการเคลื่อนไหวก็ตาม จะต้อง ปิดงบเปล่า คือ เพื่อหลีกเลี่ยงค่าปรับต่าง ๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นได้ หากผู้ประกอบกิจการนำส่งงบการเงินล่าช้าหรือไม่ส่งงบการเงินในระยะเวลาบัญชีปีนั้น ๆ จะต้องเสียค่าปรับตามกฎหมายกำหนด



ข่าวสารล่าสุด

ความสำคัญของการ ปิดงบเปล่า 2567 ในการดำเนินธุรกิจ
ความสำคัญของการ ปิดงบเปล่า 2567 ในการดำเนินธุรกิจ

เรียนรู้ขั้นตอนสำคัญในการ ปิดงบเปล่า 2567 เพื่อให้ธุรกิจของคุณเป็นไปตามข้อกำหนดทางบัญชีและกฎหมาย พร้อมเคล็ดลับที่ช่วยให้การดำเนินการราบรื่น ประหยัดเวลา และลดความเสี่ยงจากการตรวจสอบ สร้างความมั่นคงทางการเงินและเตรียมพร้อมสำหรับอนาคตอย่างมั่นใจ

22/12/2024 17:00
ที่มาของคำว่า ปิดงบเปล่า คืออะไร
ที่มาของคำว่า ปิดงบเปล่า คืออะไร

ปิดงบเปล่า คือ เป็นคำศัพท์ยอดฮิตสำหรับนักบัญชี สิ่งที่ผู้ประกอบการจะต้องทราบเกี่ยวกับการปิดงบเปล่า คือ งบการเงินของบริษัทที่จดทะเบียนในรูปแบบนิติบุคคล ไม่ว่าจะเป็น ห้างหุ้นส่วนจำกัด หรือบริษัทจำกัด แต่เป็นธุรกิจที่ไม่ดำเนินกิจการ ไม่มีรายการเคลื่อนไหว ทั้งรายรับ และรายจ่าย เช่น ซื้อสินค้า ค่าจ้าง ค่าบริการ ค่าแรงที่เกิดขึ้นในระหว่างปี ไม่ว่าจะอะไรก็แล้วแต่ที่เกี่ยวข้องกับบริษัทการ ปิดงบเปล่า

15/12/2024 17:00
ใครบ้างที่มีหน้าที่ต้อง จดภาษีมูลค่าเพิ่ม ?
ใครบ้างที่มีหน้าที่ต้อง จดภาษีมูลค่าเพิ่ม ?

หน้าที่ของผู้ประกอบการเมื่อได้ จดภาษีมูลค่าเพิ่ม จะต้องเรียกเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มหรือ VAT7% กับผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการจดภาษีมูลค่าเพิ่ม มีหน้าที่ออกใบกำกับภาษีเพื่อเป็นหลักฐานในการเรียกเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม จัดทำรายการตามกฎหมาย ซึ่งได้แก่ รายงานภาษีซื้อ รายงานภาษีขาย รายการสินค้าและวัตถุดิบจดภาษีมูลค่าเพิ่ม เพื่อยื่นแบบแสดงรายการเพื่อเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม ตามแบบภ.พ.30 ทุกเดือน ภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป จดภาษีมูลค่าเพิ่ม

14/12/2024 17:00